คำสั่งคำร้องที่ 30/2542

แหล่งที่มา : เนติบัณฑิตยสภา

ย่อสั้น

ผู้พิพากษาคนใดซึ่งเป็นผู้พิจารณาหรือลงชื่อในคำพิพากษา หรือทำความเห็นแย้งในศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์ จะอนุญาต ให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 221 หรือไม่นั้น เป็นอำนาจที่จะใช้ดุลพินิจเฉพาะตัว ผู้พิพากษานั้น ๆ เมื่อผู้พิพากษาซึ่งพิจารณาและลงชื่อใน คำพิพากษาศาลชั้นต้นไม่รับรองให้ฎีกา จำเลยจะอุทธรณ์คำสั่ง ดังกล่าวต่อศาลฎีกาไม่ได้

ย่อยาว

ศาลชั้นต้น พิพากษา ว่า จำเลย มี ความผิด ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 วรรคสอง , 365(1)(3) ประกอบ มาตรา 364, 391 การกระทำ ของ จำเลย เป็น ความผิด หลายกรรม ต่างกัน ให้ เรียง กระทง ลงโทษ ฐาน บุกรุก และ กระทำอนาจาร เป็น ความผิด กรรมเดียว ผิด ต่อ กฎหมาย หลายบท ลงโทษ ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 วรรคสอง ซึ่ง เป็น บท ที่ หนัก ที่สุด ให้ จำคุก 2 ปี ฐาน ทำร้ายร่างกาย จำคุก 1 เดือน รวม จำคุก 2 ปี 1 เดือน จำเลย รับสารภาพ มีเหตุ บรรเทา โทษ ลดโทษ ให้ กึ่งหนึ่ง คง จำคุก 1 ปี 15 วัน ไม่มี เหตุ รอการลงโทษ
จำเลย อุทธรณ์ ขอให้ รอการลงโทษ ศาลอุทธรณ์ ภาค 3 พิพากษายืน
จำเลย ฎีกา พร้อม กับ ยื่น คำร้องขอ ให้ อนุญาต ให้ ฎีกา ผู้พิพากษา ซึ่ง ลงชื่อ ใน คำพิพากษา ศาลชั้นต้น มี คำสั่ง ยกคำร้อง ( ศาลชั้นต้น มิได้ มี คำสั่ง ประการใด ใน ฎีกา ของ จำเลย )
จำเลย จึง ยื่น คำร้อง นี้ ว่า จำเลย ไม่เคย กระทำ ความผิด อาญา ใด ๆ มา ก่อน และ ให้การรับสารภาพ ใน ชั้นสอบสวน และ ชั้นพิจารณา คดี ของ ศาล เพื่อ ประโยชน์ แก่ การ พิจารณา คดี ของ ศาล ประกอบ กับ จำเลย เป็น หัวหน้า ครอบครัว มี ภาระ ต้อง เลี้ยงดู บุตร อายุ เพียง 1 ปี เศษ และ ภรรยา และ จำเลย เห็นว่า ฎีกา ของ จำเลย เป็น ปัญหาข้อเท็จจริง อัน สำคัญ อันควร แก่ ศาลฎีกา จะ รับ ไว้ วินิจฉัย ต่อไป ขอ ศาลฎีกา โปรด รับ ฎีกา ของ จำเลย ไว้ พิจารณา ต่อไป
ศาลฎีกา มี คำสั่ง ว่า ” พิเคราะห์ แล้ว เห็นว่า ผู้พิพากษา คนใด ซึ่ง เป็น ผู้พิจารณา หรือ ลงชื่อ ใน คำพิพากษา หรือ ทำ ความเห็น แย้ง ใน ศาลชั้นต้น หรือ ศาลอุทธรณ์ จะ อนุญาต ให้ ฎีกา ใน ปัญหา ข้อเท็จจริง ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 221 หรือไม่ นั้น
ศาลชั้นต้น พิพากษา ว่า จำเลย มี ความผิด ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 วรรคสอง , 365(1)(3) ประกอบ มาตรา 364, 391 การกระทำ ของ จำเลย เป็น ความผิด หลายกรรม ต่างกัน ให้ เรียง กระทง ลงโทษ ฐาน บุกรุก และ กระทำอนาจาร เป็น ความผิด กรรมเดียว ผิด ต่อ กฎหมาย หลายบท ลงโทษ ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 วรรคสอง ซึ่ง เป็น บท ที่ หนัก ที่สุด ให้ จำคุก 2 ปี ฐาน ทำร้ายร่างกาย จำคุก 1 เดือน รวม จำคุก 2 ปี 1 เดือน จำเลย รับสารภาพ มีเหตุ บรรเทา โทษ ลดโทษ ให้ กึ่งหนึ่ง คง จำคุก 1 ปี 15 วัน ไม่มี เหตุ รอการลงโทษ
จำเลย อุทธรณ์ ขอให้ รอการลงโทษ ศาลอุทธรณ์ ภาค 3 พิพากษายืน
จำเลย ฎีกา พร้อม กับ ยื่น คำร้องขอ ให้ อนุญาต ให้ ฎีกา ผู้พิพากษา ซึ่ง ลงชื่อ ใน คำพิพากษา ศาลชั้นต้น มี คำสั่ง ยกคำร้อง ( ศาลชั้นต้น มิได้ มี คำสั่ง ประการใด ใน ฎีกา ของ จำเลย )
จำเลย จึง ยื่น คำร้อง นี้ ว่า จำเลย ไม่เคย กระทำ ความผิด อาญา ใด ๆ มา ก่อน และ ให้การรับสารภาพ ใน ชั้นสอบสวน และ ชั้นพิจารณา คดี ของ ศาล เพื่อ ประโยชน์ แก่ การ พิจารณา คดี ของ ศาล ประกอบ กับ จำเลย เป็น หัวหน้า ครอบครัว มี ภาระ ต้อง เลี้ยงดู บุตร อายุ เพียง 1 ปี เศษ และ ภรรยา และ จำเลย เห็นว่า ฎีกา ของ จำเลย เป็น ปัญหาข้อเท็จจริง อัน สำคัญ อันควร แก่ ศาลฎีกา จะ รับ ไว้ วินิจฉัย ต่อไป ขอ ศาลฎีกา โปรด รับ ฎีกา ของ จำเลย ไว้ พิจารณา ต่อไป
ศาลฎีกา มี คำสั่ง ว่า ” พิเคราะห์ แล้ว เห็นว่า ผู้พิพากษา คนใด ซึ่ง เป็น ผู้พิจารณา หรือ ลงชื่อ ใน คำพิพากษา หรือ ทำ ความเห็น แย้ง ใน ศาลชั้นต้น หรือ ศาลอุทธรณ์ จะ อนุญาต ให้ ฎีกา ใน ปัญหา ข้อเท็จจริง ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 221 หรือไม่ นั้น เป็น อำนาจ ที่ จะ ใช้ ดุลพินิจ เฉพาะตัว ผู้พิพากษา นั้น ๆ เมื่อ ผู้พิพากษา ซึ่ง พิจารณา และ ลงชื่อ ใน คำพิพากษา ศาลชั้นต้น ไม่รับรอง ให้ ฎีกา จำเลย จะ อุทธรณ์ คำสั่ง ดังกล่าว ต่อ ศาลฎีกา ไม่ได้ ให้ยก คำร้อง เป็น อำนาจ ที่ จะ ใช้ ดุลพินิจ เฉพาะตัว ผู้พิพากษา นั้น ๆ เมื่อ ผู้พิพากษา ซึ่ง พิจารณา และ ลงชื่อ ใน คำพิพากษา ศาลชั้นต้น ไม่รับรอง ให้ ฎีกา จำเลย จะ อุทธรณ์ คำสั่ง ดังกล่าว ต่อ ศาลฎีกา ไม่ได้ ให้ยก คำร้อง

Share