คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 210/2491

แหล่งที่มา : กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา

ย่อสั้น

เจ้ามฤดกตาย มฤดกย่อมตกทอดทายาททันที บุคลธรรมดาที่จะเป็นทายาทและมีสิทธิรับมฤดกของ+ได้ นอกจากจะต้องมีสภาพ+สามารถมีสิทธิตาม ม.1604 +ยังต้องมีสิทธิที่จะรับมฤดกในขณะที่เจ้ามฤดกตายด้วย
ในกรณีที่มีคำพิพากษาว่าเป็นความชอบด้วยก.ม.นั้นมีผลนับตั้งแต่+พิพากษาถึงที่สุด ถ้าในขณะที่คำพิพากษาถึงที่สุดนั้น เป็นเวลาภายหลังเจ้ามฤดกตายแล้ว และไมามีมฤดก+ไม่มีทางจะให้เด็กคนน้นได้รับมฤดกได้
โจท์ฟ้องขอแบ่งมฤดกของบิดา+ข้อที่ศาลพิพากษา ว่าเป็น+นั้น ไม่มีประเด็นที่จะต้อง+ว่า เมื่อก่อนตาย บิดา+โจทก์ว่าเป็นบุตร อันจะทำมีสิทธิรับมฤดกตามป.พ.พ.ม.+หรือไม่ คงจะมีประเด็นข้อเถียง+ขอ งศาลที่แสดงไว้นั้น จะมีผลต่อโจทก์ในทางรับมฤดกอย่างไรหรือไม่

ย่อยาว

โจทก์ฟ้องว่า ด.ญ.วิลัย ด.ญ.จ่าย หวานสนิท เป็นบุตรนายวุ่นตามคำสั่งศาล นายวุ่นวายชนม์จำเลยเป็นผู้ครอบครองมฤดกไว้ จึงฟ้องขอแบ่งทรัพย์มฤดกตามส่วน
จำเลยต่อสู้ว่า นายวุ่น เจ้ามฤดกตาย เมื่อเดือน+พ.ศ. ๒๔๘๗ มฤดกของนายวุ่น ได้ตกทอดมายังจำเลยนายแดง นายรุ่นซึ่งเป็นบุตรแล้วทันที ด.ญ.จ่าย ด.ญ.วิลัย พึ่งจะมารับเป็นบุตรชอบด้วยก.ม. ตามคำสั่งศาลเมื่อเดือน เมษายน ๒๔๘๘ เวลาภายหลังความตายของนายวุ่น จึงไม่มีมฤดกที่จะได้รับหรือไม่มีสิทธิได้รับมฤดกตามกฏหมาย
ศาลพิพากษายกฟ้อง
ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้ศาลชั้นต้นพิจารณาข้อเท็จจริงเรื่องทรัพย์แล้วพิพากใหม่ในข้อ ก.ม. ว่าจำเลยมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งมฤดกด้วย
จำเลยฎีกา
ศาลฎีกาเห็นว่า ตามความหมายแห่งมาตรา ๑๖๐ และ ๑๕๙๙ นั้นเมื่อเจ้ามฤดกตาย มฤดกย่อม+ทันทีฉนั้นบุคคลธรรมดาที่จะเป็นทายาทและ+ของผู้ใดได้ นอกจากจะต้องมีสภาพหรือ+มาตรา ๑๖๐๔ แล้วยังต้องมีสิทธิจะรับมฤดก+มฤกตายด้วย ด.ญ.จ่าย ด.ญ.วิลัย+บุคคลในเวลาที่นายวุ่นตายก็จริง แต่ในขณะ+และมฤดกตกทอดนั้น หามีสิทธิที่จะได้รับมฤดกของ+เพราะขณะนั้นยังไม่ใช่บุตรโดยชอบด้วย ก.ม. ในกรณี+มีผลนับตั้งแต่วันคำพิพากษาถึงที่สุด ซึ่งเป็นภายหลังของนายวุ่นตายแล้ว และไม่มีมฤดกจะรับ จึงพิพากษากลับคำพิพากษาอุทธรณ์ บังคับคดีตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น

Share